วันพุธที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2554

1. ความหมายของ ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ตอบ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้อการ

2. อธิบายความแตกต่างระหว่าง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป กับ ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน
ตอบ   ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป  คือ ซอฟต์แวร์ที่เพื่อที่จะพัฒนาขึ้นเพื่อนำไปประยุกต์ใช้งาน ไม่เฉพาะเจาะจง
          ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน คือ ซอฟต์โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ

3. ยกตัวอย่างซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป โดยระบุ ประเภท / ชื่อ / และประโยชน์ใช้งาน (มา 5 ตัวอย่าง)
ตอบ   1. ซอฟต์แวร์แระมวลผลคำ เป็นซอฟต์แวต์มี่ในการทำเอกสารทุกชนิด เช่น รายงาน จดหมายเวียน อื่นๆ
          2. ซอฟต์แวร์ตารางงาน เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่ายในการคำนวณ วิเคราะตัวเลข บัญชี สถิติ อื่นๆ
          3. ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล คือ การใช้งานคอมพิเตอร์อย่างหนึ่ง คือ การใช้ข้อมูลและจัดเก็บข้อมูลที่จัด เก็บอยู่ในเครื่อง
          4. ซอฟต์แวร์นำเสนอ เป็นโปรแกรมที่ใช้นำเสนอข้อมูลด้วยระบบคอมพิเตอร์ สร้างเอกสารที่ประกอบอัดาร รูปภาพ อื่นๆ
          5. ซอฟต์แวร์ทางด้านกรฟิกและมัลติมีเดีย เป็นกลุ่มซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่พัมนาขึ้นสะหรับจัดการงานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย

4.  นักเรียนรู้จัก หรือ เคยใช้ซอฟต์แวร์ใดบ้างตามที่ระบุในข้อ 3 และเคยใช้ทำอะไร ตอบให้มากที่สุด      (ซอฟต์แวร์ 1 คะแนน)
ตอบ  1. ซอฟต์แวร์แระมวลผลคำ เป็นซอฟต์แวต์มี่ในการทำเอกสารทุกชนิด       
         2. ซอฟต์แวร์ตารางงาน เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่ายในการคำนวณ
          3. ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล คือ การใช้งานคอมพิเตอร์อย่างหนึ่ง
          4. ซอฟต์แวร์นำเสนอ เป็นโปรแกรมที่ใช้นำเสนอข้อมูลด้วยระบบคอมพิเตอร์
          5. ซอฟต์แวร์ทางด้านกรฟิกและมัลติมีเดีย เป็นกลุ่มซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่พัมนาขึ้นสะหรับจัดการงานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย
         6. ซอฟต์แวร์ใช้งานบนเว็บไวต์และการติกต่อศื่อสาร คือ การเติบโตของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

5. เขียนแผนผังความคิด เรื่องซอฟต์แวร์ ลงในกระดาษ A4

วันพฤหัสบดีที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2554

โปรแกรมแปลภาษา ..... ?


1. โปรแกรมแปลภาษา คือ   ........?
ตอบ ซอฟต์แวร์หรือชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่แปล Source Program ให้เป็น Object Program เนื่องจากภาษาระดับต่ำและภาษาระดับสูงเป็นภาษา
ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถรับรู้ได้ จำเป็นต้องมีชุดคำสั่งที่ใช้เป็นตัวแปลภาษา
ให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อน ซึ่งโปรแกรมแปลภาษา


2. โปรแกรมแปลภาษาทำหน้าที่ ............?

ตอบ  เป็นซอฟต์แวร์หรือชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่แปล Source Program ให้เป็น Object Program

3. โปรแกรมแปลภาษาแบ่งเป็นกี่ประเภท  อะไรบ้าง

ตอบ แบ่งออกเป็น 2  ประเภท  คือ  1. ตัวแปลภาษาระดับต่ำ

                                                        2. ตัวแปลภาษาระดับสูง

4.  ตังแปลภาษาระดับต่ำ ทำหน้าที่ ........?

ตอบ แปลภาษาระดับต่ำ   ภาษาระดับต่ำแม้ว่าจะเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง แต่ลักษณะของภาษานี้ได้ใช้ตัว อักษรแทนชุดคำสั่งของเลขฐานสองในภาษาเครื่อง จึงจำเป็นต้องมีชุดคำสั่งที่ใช้แปลภาษาระดับต่ำ ให้เป็นภาษาเครื่อง ซึ่งชุดคำสั่งที่ใช้แปลภาษาระดับต่ำ

5. แอสแซมเบลล์  คือ ......?

ตอบ  ตัวแปลภาษาที่เรียกว่า แอสเซมบลี

6. ตัวแปลภาษาระดับสูง ทำหน้าที่ .....?

ตอบ แปลภาษาระดับสูงเป็นภาษาที่เขียนขึ้นมาเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานโดยใช้คำสั่งที่มนุษย์อ่านและเข้าใจได้แต่คอมพิวเตอร์ไม่สามารถเข้าใจได้จึงต้องมีชุดคำสั่งที่ใช้แปลภาษาระดับสูง ให้เป็นภาษาเครื่อง ซึ่งโปรแกรมแปลภาษาระดับสูง

7. ตัวแปลภาษาระดับสูงแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไร บ้าง

ตอบ  แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
         1. คอมไพเลอร์

         2.  อินเตอร์พลื่ตเตอร์

8. คอมไพเลอร์ กับ อินพรื่ตเตอร์ เหมื่อนกันหรือต่างกันอย่างไร

                                                                             ตอบ

วันพุธที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2554

system software

1.ซอฟต์แวร์ระบบ (system   software) แบ่งเป็น 3 ประเภท
ตอบ  1.ระบบปฏิบัติการ
              2.โปรแกรมแปลภาษา
              3.โปรแกรมอรรถประโยชน์                                                    

2.ระบบปฏิบัติการ  คือ.........?
ตอบ      เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สำหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด               ตั้งแต่ซี   พี   ยู     หน่วยความจำ ไปจนถึงหน่วยนำเข้าและส่งออก บางครั้งนิยมเรียกรวมๆว่า  แพลตฟอร์ม

3.ระบบปฎิบัติการมีความสำคัญอย่างไร
ตอบ ใช้สำหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด

4.ระบบปฎิบัติการมีหน้าที่อย่างไร
ตอบ 1.การจองและการกำหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์
             2.การจัดตารางงาน
             3.การติดตามผลของระบบ
             4.การทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน
             5.การจัดแบ่งเวลา
             6.การประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน

5.ตัวอย่างระบบปฎิบัติการที่สำคัญที่รู้จัก 6 ชนิด
 ตอบ   1.ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์
                2.ระบบปฏิบัติการแมคอินทอช
                3.ระบบปฏิบัติการลินุกซ์
                4.ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เซิร์ฟเวิอร์
                5.ระบบปฏิบัติการปาล์ม
                6.ระบบปฏิบัติการซิมเบียน
 

6.แอนรอยด์(Android) คือ.........?

 ตอบ

7.ios คือ อะไร

ตอบ  ข้อมูลระบบปฏิบัติการ iOS 5 สำหรับ ไอโฟน, ไอแพด และ ไอพอดทัช

หมวด: ดาวน์โหลดโปรแกรม, ดาวน์โหลดโปรแกรมมือถือ, โปรแกรม iphone, โปรแกรมมือถือ, โปรแกรมไอแพด, โปรแกรมไอโฟน, ไอพอด, ไอพอดทัช 4, ไอแพด, ไอโฟน, ไอโฟน 4, iOS, iPad, iPad 2, iphone, iPhone 3GS, iPhone 4, iPod Touch
Apple ผู้ผลิต iPhone, iPad และ iPod touch เปิดตัวระบบปฏิบัติการตัวใหม่ iOS 5 สำหรับอุปกรณ์ดังกล่าว โดยมีฟีเจอร์ใหม่ร่วม 200 รายการ

ข้อมูลระบบปฏิบัติการ iOS 5 สำหรับ ไอโฟน, ไอแพด และ ไอพอดทัช

















 

 

                                                 



  














วันพุธที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ระบบปฎิบัติการ

ความหมาย  
 เป็นซอฟต์เเวร์ที่ใช้สำหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่ ซีพียู หน่ายความจำ จนไปถึงหน่วยนำเข้าและส่งออกบางครั่งเรียกรวมๆ ว่าแพลตฟอร์ม
หน้าที่ 
       1. การจองและการกำหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์
          2. การจัดตารางงาน     
          3. การติดตามผลของระบบ                                                                   
         4. การทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน
         5. การจัดแบ่งเวลา
         6. การประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน
ตัวอย่างระบบปฎิบัติการที่สำคัญควรรู้ 
        1.ระบบปฎิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์
        2. ระบบปฎิบัติการแมคอินทอช
        3. ระบบปฎิบัติการลินุกซ์
        4. ระบบปฎิบัติการวินโดวส์
        5.ระบบปฎิบัติการปาล์ม
        6. ระบบปฎิบัติการซิมเบียน

  คำถาม3ข้อ
    1. ความหมายของระบบปฎิบัติการคืออะไร
       ก. เป็นซอฟต์เเวร์ที่ใช้สำหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่ ซีพียู หน่ายความจำ จนไปถึงหน่วยนำเข้าและส่งออกบางครั่งเรียกรวมๆ ว่าแพลตฟอร์ม
      ข. CPU
  2. หน้าที่ระบบปฎิบัติการมีกี่ข้ออะไรบ้าง
      ก.2 ข้อ 1. การจองและการกำหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์
          2. การจัดตารางงาน
     ข. 6 ข้อ  1. การจองและการกำหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์
                   2. การจัดตารางงาน
                   3. การติดตามผลของระบบ
                   4. การทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน
                   5. การจัดแบ่งเวลา
                   6. การประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน
 3.    ตัวอย่างระบบปฎิบัติการที่สำคัญควรรู้มีอะไรบ้าง
             ก.  1.ระบบปฎิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์ 
                   2. ระบบปฎิบัติการแมคอินทอช
                   3. ระบบปฎิบัติการลินุกซ์
                   4. ระบบปฎิบัติการวินโดวส์
                   5.ระบบปฎิบัติการปาล์ม
                   6. ระบบปฎิบัติการซิมเบียน
          ข.  1. ระบบปฎิบัติการวินโดวส์
                2.ระบบปฎิบัติการปาล์ม
                3. ระบบปฎิบัติการซิมเบียน





เฉลย

ข้อ 1.  ก. เป็นซอฟต์เเวร์ที่ใช้สำหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่ ซีพียู หน่ายความจำ จนไปถึงหน่วยนำเข้าและส่งออก     บางครั่งเรียกรวมๆ ว่าแพลตฟอร์ม

                             ข้อ 2. ข. 6 ข้อ  1. การจองและการกำหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์
                                                      2. การจัดตารางงาน
                                                      3. การติดตามผลของระบบ
                                                      4. การทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน
                                                      5. การจัดแบ่งเวลา
                                                      6. การประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน

                            ข้อ 3.    ก.   1.ระบบปฎิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์
                                                2. ระบบปฎิบัติการแมคอินทอช
                                                3. ระบบปฎิบัติการลินุกซ์
                                                4. ระบบปฎิบัติการวินโดวส์
                                                5.ระบบปฎิบัติการปาล์ม
                                                6. ระบบปฎิบัติการซิมเบียน




:

วันศุกร์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ซอฟต์แวร์

ซอฟต์แวร์ 

  ซอฟต์แวร์ (อังกฤษ: software) หรือ ส่วนชุดคำสั่ง [1] หรือบางครั้งมีการสะกดว่า ซอฟ‌ท์แวร์ เป็นส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ซอฟต์แวร์นั้นนอกจากจะสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ยังสามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือหุ่นยนต์ในโรงงาน หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ คำว่า "ซอฟต์แวร์" ใช้ครั้งแรกโดย จอห์น ดับเบิลยู. เทอร์กีย์ (John W. Turkey) ในปี พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) โดยแนวคิดของซอฟต์แวร์ปรากฏครั้งแรกในเรียงความของแอลัน ทัวริง บิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ กล่าวกันว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชิ้นแรกของโลกเขียนโดยเอดา ไบรอน เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับเครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) ของชาร์ลส แบบเบจ

ความสัมพันธ์กับฮาร์ดแวร์

ซอฟต์แวร์ เป็นชื่อเรียกเพื่อใช้เปรียบต่างกับฮาร์ดแวร์ ซึ่งเป็นลักษณะทางกายภาพในการเก็บและประมวลผลของซอฟต์แวร์ ในคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์จะถูกเรียกใช้งานในแรมและประมวลผลผ่านซีพียู

ประเภทของซอฟต์แวร์


หน้าจอของโปรแกรมประยุกต์ เว็บเบราว์เซอร์ไฟร์ฟอกซ์
การแบ่งประเภทของซอฟต์แวร์แบ่งออกได้เป็นหลายแบบ เช่น
  1. การแบ่งเชิงเทคนิค อาจแบ่งซอฟต์แวร์เป็น 3 ประเภทหลักคือ
  2. การแบ่งตามรูปแบบการส่งมอบ แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ
    • ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package software) ซอฟต์แวร์ที่มีการขาย ให้เช่า หรือให้บริการ โดยคิดค่าบริการเป็น transaction หรือ license
    • ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเงินเดือน (Outsources software development) เป็นการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อใช้งานเฉพาะกับงานประเภทต่าง ๆ เฉพาะกิจกรรมไป ส่วนใหญ่ลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์นี้จะเป็นของผู้ที่ว่าจ้างให้พัฒนาขึ้น
  3. การแบ่งตามประเภทของการนำไปใช้งานหลัก แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มคือ
    • ซอฟต์แวร์ช่วยในการบริหารจัดการทั่วไป (Enterprise software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับการทำงานเพื่อแก้ปัญหา/จัดการทรัพยากรของ บุคคล/องค์กร เช่น ซอฟต์แวร์บัญชี ซอฟต์แวร์จัดทำเอกสาร เป็นต้น
    • ซอฟต์แวร์สำหรับอุปกรณ์พกพาขนาดเล็ก (Mobile applications software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำงานผ่านระบบปฏิบัติการพิเศษบนอุปกรณ์ขนาดเล็ก เช่น โทรศัพท์มือถือ PDA โดยสามารถแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 2 กลุ่ม คือ (1) ซอฟต์แวร์เพื่อสนับสนุนธุรกรรมทางธุรกิจ (Business applications) เช่น Mobile banking, Mobile payment, GPS on Mobile, Mobile applications for business process management และ(2) ซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับนันทนาการและบันเทิง (Entertainment applications) ซึ่งรวมเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่
    • ซอฟต์แวร์สมองกลฝังตัว (Embedded System Software) เป็นซอฟต์แวร์ซึ่งฝังอยู่ไว้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เพื่อใช้สำหรับควบคุมการทำงานของอุปกรณ์นั้นๆ เช่น ระบบ GPRS ระบบทำความเย็นอัจริยะ ระบบตรวจสอบย้อนกลับ เป็นต้น

ซอฟต์แวร์ กับ ไลบรารี

ซอฟต์แวร์แตกต่างกับไลบรารี คือซอฟต์แวร์สามารถนำมาประมวลผลได้ด้วยตัวเอง ในขณะที่ไลบรารีเป็นส่วนประกอบของซอฟต์แวร์และไม่สามารถนำมาใช้ประมวผลด้วยตนเองได้

ที่มา

http://th.wikipedia.org/wiki/

คำถาม 2 ข้อ

ข้อที่  1 ซอฟต์แวร์ หมายถึงอะไร

         ก. ส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล

         ข. การซื้อของโดยใช้บัตรเครดิต

ข้อที่ 2. ซอฟต์แวร์แตกต่างกับไลบลารี อย่าไร

        ก. ซอฟต์แวร์สามารถนำมาประมวลผลได้ด้วยตัวเอง ในขณะที่ไลบรารีเป็นส่วนประกอบของซอฟต์แวร์และไม่สามารถนำมาใช้ประมวผลด้วยตนเองได้

        ข. ไม่แตกต่างกัน

เฉลย

ข้อที่  1

ตอบ     ก. ส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล

ข้อที่  2

ตอบ    ก. ซอฟต์แวร์สามารถนำมาประมวลผลได้ด้วยตัวเอง ในขณะที่ไลบรารีเป็นส่วนประกอบของซอฟต์แวร์และไม่สามารถนำมาใช้ประมวผลด้วยตนเองได้